2011
DOI: 10.1289/isee.2011.01647
|View full text |Cite
|
Sign up to set email alerts
|

Air Transportation and Flight Attendant Health

Help me understand this report

Search citation statements

Order By: Relevance

Paper Sections

Select...
1

Citation Types

0
0
0
2

Publication Types

Select...
1

Relationship

0
1

Authors

Journals

citations
Cited by 1 publication
(2 citation statements)
references
References 0 publications
0
0
0
2
Order By: Relevance
“…เป็ นแบบประเมิ นที ่ พั ฒนาเป็ นภาษาไทยโดย นารา กุ ลวรรณวิ จิ ตร (10) ความเหนื ่ อยล้ าในระดั บปานกลาง จากการทบทวนวรรณกรรมในต่ างประเทศ พบว่ า Lakha Sharma (31) (32) ท าการศึ กษา ภาวะสุ ขภาพจิ ตของพนั กงานต้ อนรั บสายการบิ นเอมิ เรต พบว่ า ค่ าคะแนนความเครี ยดของพนั กงาน ต้ อนรั บอยู ่ ในระดั บสู ง Yuichiro Ono (59) (38) และคณะ พบว่ าระดั บภาวะซึ มเศร้ าและความเหนื ่ อยล้ าในพนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ น สู งกว่ า ประชาชนทั ่ วไป และจากการศึ กษาของ TJ Ballard (25)…”
Section: แบบประเมิ นความเหนื ่ อยล้ า Revised-piper Fatigue Scale (R-...unclassified
See 1 more Smart Citation
“…เป็ นแบบประเมิ นที ่ พั ฒนาเป็ นภาษาไทยโดย นารา กุ ลวรรณวิ จิ ตร (10) ความเหนื ่ อยล้ าในระดั บปานกลาง จากการทบทวนวรรณกรรมในต่ างประเทศ พบว่ า Lakha Sharma (31) (32) ท าการศึ กษา ภาวะสุ ขภาพจิ ตของพนั กงานต้ อนรั บสายการบิ นเอมิ เรต พบว่ า ค่ าคะแนนความเครี ยดของพนั กงาน ต้ อนรั บอยู ่ ในระดั บสู ง Yuichiro Ono (59) (38) และคณะ พบว่ าระดั บภาวะซึ มเศร้ าและความเหนื ่ อยล้ าในพนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ น สู งกว่ า ประชาชนทั ่ วไป และจากการศึ กษาของ TJ Ballard (25)…”
Section: แบบประเมิ นความเหนื ่ อยล้ า Revised-piper Fatigue Scale (R-...unclassified
“…ได้ ท าการศึ กษาเรื ่ อง ชั ่ วโมงบิ นและความเหนื ่ อยล้ าของ พนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ นสายการบิ นญี ่ ปุ ่ น พบว่ า ชั ่ วโมงบิ นที ่ ยาวนานและบิ นข้ ามเส้ นแบ่ งเวลาท า ให้ เกิ ดความเครี ยดในกลุ ่ มพนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ น ในส่ วนของความเหนื ่ อยล้ า ได้ ท าการศึ กษาใน พนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ นหญิ ง จ านวน 211 คน ที ่ บิ นในเที ่ ยวบิ นจากโตเกี ยวไปยั งทวี ปยุ โรป ที ่ มี ชั ่ วโมงบิ นตั ้ งแต่ 11-14 ชั ่ วโมง ส่ วนใหญ่ ได้ ประเมิ นความเหนื ่ อยล้ า คื อ เหนื ่ อยล้ ามาก รองลงมา คื อ เหนื ่ อยล้ ามากที ่ สุ ด Eileen Mcneely(38) และคณะ ท าการศึ กษาเรื ่ อง ภาวะสุ ขภาพของพนั กงาน ต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ น ของสายการบิ นในประเทศสหรั ฐอเมริ กา พบว่ า พนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ นมี ปั ญหาการนอนหลั บ ร้ อยละ 35 มี ปั ญหาเกี ่ ยวกั บกล้ ามเนื ้ อและกระดู ก (ร้ อยละ 28) ไซนั ส (ร้ อยละ 28) มี ความเหนื ่ อยล้ า (ร้ อยละ 26) และพบภาวะวิ ตกกั งวลและภาวะเครี ยด (ร้ อยละ 20) และสาเหตุ ที ่ พนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ นส่ วนใหญ่ ต้ องเข้ ารั บการรั กษามาจากความเหนื ่ อยล้ า จากการศึ กษาด้ านความเหนื ่ อยล้ าในกลุ ่ มตั วอย่ างอื ่ น ชลธิ ชา แย้ มมา (8) ท าการศึ กษาเรื ่ องความ เหนื ่ อยล้ าและประสิ ทธิ ภาพในการปฏิ บั ติ งานของพยาบาลวิ ชาชี พในโรงพยาบาลจุ ฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2555 โดยท าการศึ กษาในกลุ ่ มพยาบาลวิ ชาชี พของโรงพยาบาลจุ ฬาลงกรณ์ พบว่ า พยาบาลส่ วน ใหญ่ มี ความเหนื ่ อยล้ าในระดั บปานกลาง (ร้ อยละ 50.0) โดยพบว่ า ความเครี ยดและความเหนื ่ อยล้ า เป็ นปั จจั ยที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บปั ญหาการนอนหลั บ และพบว่ าปั ญหาการนอนหลั บและความเหนื ่ อยล้ ามี ความสั มพั นธ์ กั บประสิ ทธิ ภาพในการท างาน ซึ ่ ง Maslach and Goldberg 1998 (อ้ างถึ งใน วาริ ชาฏ ศิ วกาญจน์ , 2554) (22) ได้ กล่ าวถึ ง ปั จจั ยในการท างานที ่ สั มพั นธ์ ต่ อการเกิ ดความเหนื ่ อยล้ าในการ ท างานที ่ จะส่ งผลท าให้ เกิ ดความเหนื ่ อยล้ าในการท างานประกอบด้ วยองค์ ประกอบ 6 ด้ าน ( Sixareas of Job-person Mismatch) ได้ แก่ การมี ปริ มาณงานมาก (work overload) การ ไม่ สามารถ ควบคุ มการท างานของตนเอง (lack of control) การขาดแคลนสิ ่ งตอบแทนจากการท างาน (insufficient reward) การขาดปฏิ สั มพั นธ์ ที ่ ดี กั บเพื ่ อนร่ วมงาน (breakdown of community) การ ไม่ ได้ รั บความยุ ติ รรมในการท างาน (absence of fairness) และความขั ดแย้ งระหว่ างบุ คคลกั บงาน (value conflict) ซึ ่ งจ าเป็ นต้ องแก้ ไขปั ญหาในการท างาน เพื ่ อป้ องกั นการเกิ ดความเหนื ่ อยล้ าของ พนั กงาน ส าหรั บปั จจั ยต่ างๆ ที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บภาวะสุ ขภาพจิ ต สามารถอธิ บายผลการศึ กษาใน รายละเอี ยดดั งต่ อไปนี ้ ปั จากผลการวิ จั ยพบว่ า ปั จจั ยที ่ มี ความสั มพั นธ์ กั บภาวะสุ ขภาพจิ ตด้ านซึ มเศร้ า ได้ แก่ รายได้ ต่ อเดื อนและความเพี ยงพอของรายได้ ซึ ่ งกลุ ่ มที ่ มี ความเสี ่ ยงต่ อภาวะซึ มเศร้ า คื อกลุ ่ มที ่ มี รายได้ เฉลี ่ ย น้ อยกว่ า 45,000 บาท ต่ อเดื อน และไม่ เพี ยงพอเป็ นหนี ้ ซึ ่ งมาโนช หล่ อตระกู ล และปราโมทย์ สุ ค นิ ชย์ (17) ได้ กล่ าวถึ งสาเหตุ ของโรคซึ มเศร้ าว่ า ในปั จจุ บั นยั งไม่ ทราบสาเหตุ ที ่ แน่ ชั ด แต่ มี ปั จจั ยหลาย ประการที ่ สั มพั นธ์ กั บการเกิ ดโรค หนึ ่ งในนั ้ นคื อฐานะทางเศรษฐกิ จและสั งคม และความเสี ่ ยงของการ เกิ ดภาวะซึ มเศร้ ามั กจะพบมากในผู ้ ที ่ มี รายได้ ต่ า ส าหรั บพนั กงานต้ อนรั บบนเครื ่ องบิ น อาจเกิ ดจาก ค่ าตอบแทนในแต่ ละเดื อนที ่ ไม่ แน่ นอนขึ ้ นอยู ่ กั บตารางการปฏิ บั ติ งาน แต่ มี ภาระทางเศรษฐกิ จของ ครอบครั ว เช่ น ค่ าใช้ จ่ ายในครอบครั ว ภาระสิ นเชื ่ อเพื ่ อที ่ อยู ่ อาศั ยหรื อรถยนต์ ท าให้ ส่ งผลต่ อภาวะ ทางสุ ขภาพจิ ตได้ โรคประจ าตั ว กลุ ่ มตั วอย่ างส่ วนใหญ่ ไม่ มี โรคประจ าตั ว ส่ วนกลุ ่ มที ่ มี โรคประจ าตั ว ได้ แก่ โรค ภู มิ แพ้ รองลงมาคื อ โรคข้ ออั กเสบและไทรอยด์ ตามล าดั บ จากการศึ กษาพบว่ า กลุ ่ มที ่ มี โรคประจ าตั ว มี ความสั มพั นธ์ ต่ อภาวะซึ มเศร้ า สอดคล้ องกั บผลการศึ กษาของ วารี รั ตน์ หอมโกศล(33) ที ่ ได้ ท าการศึ กษาเรื ่ อง ภาวะซึ มเศร้ าในผู ้ ป่ วยเด็ กโรคหื ด ในปี พ.ศ.…”
unclassified