“…Students are conscious and valued culture, gathered cultural data completely, planned congruent care for the patients, and practiced with empathy, honor, and respect. การ (Campinha-Bacote, 1999: 203;Giger et al, 2007;Leininger, 2002: 189;Purnell & Paulanka, 1998;Suh, 2004: 96) เป็ นการปฏิ บั ติ การพยาบาลบนพื ้ นฐานทางวั ฒนธรรมของผู ้ รั บบริ การที ่ แสดงออกถึ งความตระหนั กใน ความส าคั ญของวั ฒนธรรม วิ ถี ชี วิ ต ค่ านิ ยมและพฤติ กรรมของบุ คคลซึ ่ งส่ งผลต่ อสุ ขภาพ ยอมรั บและ เคารพในความแตกต่ างทางวั ฒนธรรม สามารถรวบรวมข้ อมู ลเกี ่ ยวกั บวั ฒนธรรม วิ ถี ชี วิ ต และ พฤติ กรรมที ่ ส่ งผลต่ อสุ ขภาพของผู ้ รั บบริ การได้ อย่ างครอบคลุ ม ระบุ ปั ญหาของผู ้ รั บบริ การ และ สามารถน าข้ อมู ลดั งกล่ าวมาใช้ ในการวางแผนการพยาบาล เพื ่ อดู แลผู ้ รั บบริ การให้ ฟื ้ นหายจากโรค ส่ งเสริ มสุ ขภาพ และป้ องกั นการเกิ ดโรคแทรกซ้ อน หากพยาบาลไม่ มี ความตระหนั กถึ งความส าคั ญของวั ฒนธรรม และความรู ้ เรื ่ องวั ฒนธรรม ย่ อมจะน าไปสู ่ ปั ญหาความไม่ เข้ าใจ หรื อความขั ดแย้ ง ระหว่ างพยาบาลกั บผู ้ รั บบริ การในด้ านความคิ ด ความเชื ่ อ ค่ านิ ยมและการกระท า ทั ้ งพยาบาลและผู ้ รั บบริ การอาจรู ้ สึ กแปลกแยกและไม่ ได้ รั บการ ช่ วยเหลื อ ผู ้ รั บบริ การเข้ าใจผิ ด รู ้ สึ กโกรธ ไม่ ร่ วมมื อในการรั กษา หรื อไม่ ยอมรั บการรั กษา ท าให้ กระบวนการฟื ้ นหายทางด้ านร่ างกายของผู ้ รั บบริ การบกพร่ อง (Giger & Davidhazar, 1995: 20-21) พยาบาลที ่ ขาดความรู ้ เกี ่ ยวกั บความแตกต่ างทางวั ฒนธรรม ไม่ สามารถให้ การพยาบาลแบบองค์ รวม และพั ฒนาความสั มพั นธ์ ทางการรั กษากั บผู ้ ป่ วย ท าให้ พยาบาลเกิ ดความคั บข้ องใจและความเครี ยด (Murphy & Macleod, 1993) นอกจากนี ้ มุ มมองที ่ แตกต่ างกั นของบุ คลากรทางการแพทย์ และ ประชาชน การปฏิ บั ติ การดู แลทางสุ ขภาพที ่ แตกต่ างกั น ท าให้ การติ ดต่ อสื ่ อสารไม่ ดี และผลการรั กษา ไม่ เป็ นที ่ พึ งพอใจ (Boi, 2000: 382-389) ผู ้ ป่ วยไม่ ให้ ความร่ วมมื อในการรั กษา ไม่ รั บประทานยา และ ไม่ เปลี ่ ยนแปลงแบบแผนการด าเนิ นชี วิ ตให้ สอดคล้ องกั บค าแนะน าของแพทย์ (Vermeire et al, 2001: 331- (Dudus, 2012: 317-321;Foronda, 2008: 207-212;Narayan, 2001: 40-48;Suh, 2004: 93-102;Witting, 2004: 54-61) (Suh, 2004: 93-102) จากการศึ กษาแนวคิ ดการเรี ยนการสอนที ่ เน้ นให้ ผู ้ เรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ จากการปฏิ บั ติ โดยการ สร้ างประสบการณ์ หรื อการเรี ยนรู ้ ผ่ านประสบการณ์ (Experiential learning) ของ Kolb (1984) ซึ ่ งเสนอว่ าการเรี ยนรู ้ เป็ นกระบวนการต่ อเนื ่ องที ่ เน้ นประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ จากการปฏิ บั ติ โดย ความรู ้ สร้ างจากการเปลี ่ ยนผ่ านประสบการณ์ ออกมาเป็ นกรอบแนวคิ ดทางปั ญญา ผู ้ สอนเปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรี ยนเรี ยนรู ้ จากสถานการณ์ จริ ง สร้ างประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ ให้ ผู ้ เรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ อย่ างมี ความหมาย หรื อจั ดสภาพแวดล้ อมทางการเรี ยนการสอนที ่ ท้ าทายแก่ ผู ้ เรี ยน (Kolb, 1984: 4) โดย จุ ดประสงค์ หลั กของการเรี ยนรู ้ จากประสบการณ์ คื อ การให้ ผู ้ เรี ยนตระหนั กถึ งความส าคั ญของ ประสบการณ์ ซึ ่ งน าไปสู ่ การเรี ยนรู ้ แบบตื ่ นตั ว ประสบการณ์ จะเชื ่ อมโยงความคิ ดและการก...…”