“…The results obtained from this study will be alternative way for conservation and propagation of this endangered orchid in Thailand. (Rasmussen, 1995;Bidartondo et al, 2004;Smith and Read, 2010) ต้ นกล้ าของกล้ วยไม้ บางชนิ ดสามารถส่ งสารอาหารที ่ ได้ จากกระบวนการสั งเคราะห์ ด้ วยแสงให้ แก่ รา ไมคอร์ ไรซาได้ (Cameron, Leake and Read, 2006;Wang et al, 2013) (Burgeff, 1936cited in Huynh et al, 2004) ส่ วนในกล้ วยไม้ S. plicata พี โลตอนจะเริ ่ มถู กย่ อยในวั นที ่ 10 หลั งจากการเริ ่ มสร้ าง พี โลตอน (Senthilkumar and Krishnamurthy, 1998) ในกล้ วยไม้ บางชนิ ด การเข้ าติ ดเชื ้ อของรา ในโปรโตคอร์ มกล้ วยไม้ เกิ ดขึ ้ นโดยใช้ เวลา 14 ชั ่ วโมง สร้ างพี โลตอนในเวลา 29 ชั ่ วโมง และย่ อยสลาย ภายในเวลา 40 ชั ่ วโมง (Hadley and Williamson, 1971) (Peterson and Currah, 1990) Peterson and Currah (1990) ศึ กษาพบชั ้ นเมื อกเซลลู โลสในโปรโตคอร์ มกล้ วยไม้ ใน การศึ กษาต่ อมาพบว่ า ชั ้ นดั งกล่ าวไม่ ใช่ เซลลู โลสแต่ เป็ นแคลโลส (callose) (Senthilkumar and Krishnamurthy, 1998) ซึ ่ งเป็ นพอลี แซกคาไรด์ ของน้ ้ าตาลกลู โคส ที ่ มี คุ ณสมบั ติ ไม่ ยอมให้ สารซึ มผ่ าน เป็ นสารที ่ พื ชหลั ่ งออกมาเพื ่ อป้ องกั นไม่ ให้ เซลล์ ถู กท้ าลายเมื ่ อเกิ ดบาดแผล พบสารแคลโลสสะสมมาก บริ เวณที ่ มี การเสื ่ อมสลายของพี โลตอนของรา Rhizoctonia cerealis ในกล้ วยไม้ P. hyperborean (Richardson, Peterson and Currah, 1992) (Senthilkumar and Krishnamurthy, 1998 (Peterson and Currah, 1990 (Otero, Ackerman and Bayman, 2002;Bougoure et al, 2005;Bonnardeaux et al, 2007 (Ma, Tan and Wong, 2003 (Peterson and Currah, 1990) (Williamson and Hadley, 1970 (Hadley, 1975;Peterson and Currah, 1990) พบการสร้ างชั ้ น ของเหลว (Interfacial matrix) ระหว่ างไซโทพลาสซึ มของเซลล์ กล้ วยไม้ กั บเส้ นใยราภายในเซลล์ กล้ วยไม้ พบเอนไซม์ ATPases ทั ้ งในเซลล์ พื ชและเส้ นใยรา โดยเอนไซม์ อยู ่ ในภาวะพร้ อมท้ างาน ขณะที ่ เกิ ดการย่ อยสลายของเส้ นใย และพบแอกทิ วิ ที ของเอนไซม์ ฟอสฟาเทส (phosphatase activity) ในชั ้ นของเหลวและเยื ่ อหุ ้ มเซลล์ ของพื ช แสดงให้ เห็ นว่ าเซลล์ พื ชเป็ นแหล่ งสร้ างของเหลว ดั งกล่ าว (Serrigny and Dexheimer, 1985) โดยระยะเวลาในการเข้ าติ ดเชื ้ อ การสร้ างและย่ อย สลายพี โลตอนแตกต่ างกั นในแต่ ละชนิ ดของกล้ วยไม้ จากการศึ กษาของ…”