“…2538; สุ ปราณี นิ รุ ตติ ศาสน์ , 2531) ความปวดจะเริ ่ มขึ ้ นหลั งจากการลงมี ดผ่ าตั ด เมื ่ อผู ้ ป่ วยมี การฟื ้ น ตั วจากการได้ รั บยาระงั บความรู ้ สึ กทั ่ วร่ างกายจะเริ ่ มรั บรู ้ อาการปวด และเมื ่ อผู ้ ป่ วยเริ ่ มมี การ เคลื ่ อนไหวร่ างกาย พลิ กตะแคงตั วหรื อขยั บตั วลุ กนั ่ ง ยื น เดิ น จะทำให้ ผู ้ ป่ วยมี ความปวดเพิ ่ มมากขึ ้ น (จุ ฑารั ตน์ สว่ างชั ย และศรี สุ ดา งามขำ, 2560) โดยผู ้ ป่ วยร้ อยละ 40-55 จะมี ความปวดในระดั บ รุ นแรงเมื ่ อมี การเคลื ่ อนไหวร่ างกาย (Yimyaem et al, 2006) ความปวดหลั (Kahloul et al, 2017; เพ็ ญ ประภา อิ ่ มเอิ บ, วรี วรรณ คงชุ ่ ม และกรณิ ศ หริ ่ มสื บ, 2557) การบริ หารกาย-จิ ตแบบชี ่ กง (จริ นทร์ พวกยะ, 2555) การใช้ สุ วคนธบำบั ด (จวง เผื อกคง, 2550) การนวดกดจุ ดสะท้ อนฝ่ าเท้ า (Öztürk, Sevil, Sargin, & Yücebilgin, 2018; สราวุ ฒิ สี ถาน, 2560) การใช้ ผ้ ารั ดหน้ าท้ อง (Arici, Tastan, & Can, 2016;Cheifetz, Lucy, Overend, & Crowe, 2010;Clay, Gunnarsson, Franklin, & Strigård, 2014;Saeed et al, 2019;Stoker, 2019) การประคบเย็ น (Chumkam et al, 2019;Ravindhran, Rajan, Balachandran, & Mohan, 2019;Watkins et al, 2014; วั ลยาณี เนื ่ อง โพธิ ์ , สุ กั ญญา ศรี นิ ล, ทุ มวดี ตั ้ งศิ ริ วั ฒนา และมาลี ชาติ ศรี พิ พั ฒนกุ ล, 2561) การประคบเย็ นร่ วมกั บ การใช้ ผ้ ารั ดหน้ าท้ อง (เกศริ น อิ นธิ ยศ และคณะ, 2564) จากการศึ กษาที ่ กล่ าวมาจะเห็ นได้ ว่ าการ ผสมผสานวิ ธี การจั ดการความปวดโดยไม่ ใช้ ยามี ประสิ ทธิ ภาพในการจั ดการความปวดได้ ดี กว่ าการ จั ดการความปวดด้ วยยาเพี ยงอย่ างเดี ยว ดั งนั ้ นแนวทางในการจั ดการความปวดหลั งผ่ าตั ดควรมี การใช้ หลายวิ ธี ร่ วมกั น ผู ้ วิ จั ยได้ เลื อกนำวิ ธี การจั ดการความปวดโดยใช้ ผ้ ารั ดหน้ าท้ องประคบเย็ นมาใช้ ในการ จั ดการความปวด เพื ่ อให้ การจั ดการความปวดมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ ้ นจะทำให้ ผู ้ ป่ วยมี ความปวดลดลง การจั ดการความปวด โดยการใช้ ผ้ ารั ดหน้ าท้ องประคบเย็ นเป็ นแนวทางในการลดความปวด จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่ า การใช้ ผ้ ารั ดหน้ าท้ องจะช่ วยลดความปวดหลั งผ่ าตั ดได้ (Arici et al, 2016;Cheifetz et al, 2010;Clay et al, 2014;Saeed et al, 2019) ซึ ่ งผ้ ารั ดหน้ าท้ องช่ วย ในการบรรเทาความปวดในระหว่ างการเคลื ่ อนไหวร่ างกาย โดยทำให้ เกิ ดแรงกดที ่ คงที ่ และประคอง แผลผ่ าตั ดให้ กระชั บ ช่ วยลดการเคลื ่ อนไหวของผิ วหนั งและกล้ ามเนื ้ อบริ เวณหน้ าท้ อง ลดสิ ่ งเร้ าที ่ ทำ ให้ เกิ ดอาการปวด (Ossola, Mascioli, Coletta, Pizzato, & Bononi, 2020) ร่ วมกั บการประคบเย็ น จะช่ วยลดความปวดโดยความเย็ นจะช่ วยลดการส่ งกระแสประสาทความปวดจากไขสั นหลั งไปยั ง สมองทำให้ การรั บรู ้ ความปวดลดลง (Chumkam et al, 2019;Watkins et al, 2014) (Cheifetz et al, 2010;…”