“…It was concluded that the level of clarity was at a high level (4.00) and the possibility of implementation was at the highest level (4.50). (Agner et al, 2011) นอกจากนี ้ ยั งได้ มี การนำการสั มภาษณ์ ด้ วยการกำหนดสถานการณ์ และงานมาใช้ ในการวิ จั ยเพื ่ อพั ฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ให้ ทั น ต่ ออุ ตสาหกรรมในยุ ค 4.0 อี กด้ วย (Erol et al, 2016) จะเห็ นได้ ว่ าการสั มภาษณ์ ด้ วยการกำหนด สถานการณ์ และงานนิ ยมใช้ อย่ างมากในการประเมิ นปั ญหาและนำไปสร้ างเป็ นแนวทางในการพั ฒนา สิ ่ งใดสิ ่ งหนึ ่ งได้ อย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพและเป็ นที ่ ยอมรั บ ดั งนั ้ นจึ งเหมาะสมที ่ จะนำมาใช้ ในการศึ กษา ปั ญหาของการลดลงของความตั ้ งใจประกอบอาชี พครู เพื ่ อนำไปสู ่ การเสนอแนวทางแก้ ปั ญหานี ้ ต่ อไป อย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ และในปั จจุ บั นยั งไม่ พบงานวิ จั ยที ่ ใช้ วิ ธี นี ้ ในการพั ฒนาหลั กสู ตรครู ในประเทศไทย นอกจากนี ้ การศึ กษาวิ จั ยเกี ่ ยวกั บความตั ้ งใจประกอบอาชี พครู พบได้ มากในงานวิ จั ยของ ต่ างประเทศ เช่ นการศึ กษาปั จจั ยที ่ ส่ งผลต่ อความตั ้ งใจประกอบอาชี พครู (Moses et al, 2019;Nghia & Huynh, 2019;Sharif et al, 2014;Yu, 2011) (Nghia & Huynh, 2019;Roberts et al, 2009;Sharif et al, 2014;Yu, 2011) แรงจู งใจที ่ จะประกอบวิ ชาชี พครู หมายถึ ง การเห็ นความสำคั ญของการสอน ทำให้ อยาก ตั ดสิ นใจเลื อกอาชี พครู เป็ นอาชี พในอนาคต อั นเกิ ดขึ ้ นภายใต้ อิ ทธิ พลของแรงจู งใจที ่ ซั บซ้ อน ทั ้ ง แรงจู งใจภายใน แรงจู งใจภายนอก (Roness & Smith, 2010) (Richardson & Watt, 2006) ในขณะที ่ องค์ ประกอบของนั กศึ กษาที ่ อยากเป็ นครู ว่ ามี ลั กษณะดั งนี ้ 1) อยากทำงานร่ วมกั บ เด็ ก 2) เห็ นคุ ณค่ าของอาชี พครู และการสอน 3) อยากจั ดการกั บปั ญหาของนั กเรี ยน และ 4) อยาก ช่ วยเหลื อสั งคม (Sinclair et al, 2006;Yu, 2011) (Kyriacou & Coulthard, 2000;Williams & Forgasz, 2009) - (Zhang & Wildemuth, 2009;Adhabi & Anozie, 2017;Barrett & Twycross, 2018) แบบกึ ่ งโครงสร้ าง (Zhang & Wildemuth, 2009;Adhabi & Anozie, 2017;Barrett & Twycross, 2018) แบบไม่ มี โครงสร้ าง (Zhang & Wildemuth, 2009;Adhabi & Anozie, 2017;Barrett & Twycross, 2018) แบบก ำห...…”