“…ป จจุ บั นประเทศไทยกํ าลั งเผชิ ญหน ากั บป ญหาสิ ่ งแวดล อมที ่ ทวี ความรุ นแรงขึ ้ นเรื ่ อย ๆ เนื ่ องจากความหนาแน นของ ประชากรในสั งคมที ่ เพิ ่ มมากขึ ้ นจึ งก อให เกิ ดความต องการในการใช ทรั พยากรเพื ่ อการดํ ารงชี วิ ตสู งขึ ้ นตามไปด วย ซึ ่ งขณะนี ้ สั งคมไทยมี ความกั งวลในเรื ่ องป ญหาสิ ่ งแวดล อมเป นอย างมากและมี ความกั งวลอย างต อเนื ่ องในเรื ่ องระดั บมลพิ ษฝุ นละออง ขนาดเล็ กกว า 2.5 ไมครอน (มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร , 2566) เนื ่ องจากไม สามารถหลี กเลี ่ ยงการผลิ ตและใช งานพลาสติ กได โดยการผลิ ตผลิ ตภั ณฑ ซั บระดู * 1 ชิ ้ น มี ส วนประกอบของพลาสติ กมากถึ งร อยละ 90 จากสั ดส วนวั สดุ ทั ้ งหมด (UNEP, 2021) และใช เวลา 500 ถึ ง 800 ป ในการย อยสลายทางชี วภาพ (Pachauri et al, 2019) ดั งนั ้ นการใช ผ าอนามั ยแบบครั ้ งเดี ยวแล ว ทิ ้ งนั ้ นถื อเป นป ญหาใหญ ทั ้ งในแง ของมลภาวะทางอากาศ และระดั บปริ มาณของเสี ยที ่ เพิ ่ มขึ ้ น (Jackson & Tehan, 2019) ถ วยอนามั ย** เป นหนึ ่ งในผลิ ตภั ณฑ ที ่ เสริ มสร างพฤติ กรรมในการดู แลสุ ขภาพไม ให เกิ ดอาการเจ็ บป วย เพื ่ อคุ ณภาพการใช ชี วิ ตที ่ ดี ขึ ้ นซึ ่ งเป นมิ ตรต อสิ ่ งแวดล อมอย างยั ่ งยื น และมี การจั ดจํ าหน ายทั ่ วโลก (Zachariah, et al, 2022) นอกจากนี ้ ยั งทดแทน การใช ผลิ ตภั ณฑ ผ าอนามั ยได โดยถึ งแม ว าจะมี วั ตถุ ประสงค การใช งานเหมื อนกั น แต สามารถช วยดู แลด านความสะอาดได มากกว า ผลิ ตภั ณฑ ผ าอนามั ยทั ่ วไป อี กทั ้ งถ วยอนามั ยทุ กชนิ ดมี การนํ ากลั บมาใช ซ้ ํ าได อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ เพื ่ อลดการสร างขยะมู ลฝอยได 10,000 ชิ ้ นต อคน (Stewart, et al, 2009) ทํ าให เป นผลิ ตภั ณฑ ที ่ มี ความคุ มค าเมื ่ อเที ยบกั บราคาที ่ จ ายไป และมี ความปลอดภั ย เนื ่ องจากมี กระบวนการผลิ ตด วยวั สดุ เกรดทางการแพทย ระดั บสู ง จึ งมี ผลข างเคี ยงค อนข างน อย (Elizabeth, et al, 2019) ดั งนั ้ น จึ งถื อเป นผลิ ตภั ณฑ ในการส งเสริ มคุ ณภาพชี วิ ตของผู หญิ ง เพราะระยะเวลาการใช งานที ่ ยาวนานยิ ่ งขึ ้ น ป องกั นการรั ่ วไหลได ดี และเพิ ่ มความคล องตั วในทุ กกิ จกรรม ดั งนั ้ นกล าวได ว า ถ วยอนามั ยเป นทางเลื อกที ่ สามารถเติ มเต็ มช องว างสํ าคั ญในผลิ ตภั ณฑ สํ าหรั บซั บระดู * และสุ ขภาพการเจริ ญพั นธุ ของผู หญิ ง ส งผลให ผู หญิ งมี ศั กยภาพในการจั ดการระดู ได อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ จากการทบทวนวรรณกรรมก อนหน าในต างประเทศ พบว า ป จจั ยทั ศนคติ ด านสิ ่ งแวดล อม การรั บรู ถึ งประโยชน ต อสุ ขภาพ คุ ณค าด านสิ ่ งแวดล อม และการสื ่ อสารแบบปากต อปากผ านทางอิ เล็ กทรอนิ กส (eWOM) มี อิ ทธิ พลเกี ่ ยวโยงทั ศนคติ ต อผลิ ตภั ณฑ สี เขี ยว ความเต็ มใจที ่ จะจ ายเงิ น รวมไปถึ งความตั ้ งใจซื ้ อถ วยอนามั ย (Februadi, et al, 2022;Liu, et al, 2020;Xie, et al, 2015;Hur, et al, 2013;Pandey & Khare, 2015) เนื ่ องจากถ วยอนามั ยไม ได เป นที ่ รู จั กอย างกว างขวางในประเทศไทย ประกอบกั บผู บริ โภคส วนใหญ ยั งไม มี ความคุ นชิ นกั บผลิ ตภั ณฑ ประเภทนี ้ มากนั ก (Anna, et al, 2019) (Joseph, et al, 2022;Khoiriyah & Toro, 2018) สมมติ ฐานที ่ 1 : ป จจั ยทั ศนคติ ด านสิ ่ งแวดล อม (Environmental Attitudes) ส งผลต อทั ศนคติ ต อผลิ ตภั ณฑ สี เขี ยว (Attitude Toward Green Product) ของผู บริ โภคเพศหญิ งในเขตพื ้ นที ่ กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล 3.3 การตระหนั...…”